พระคง ลําพูน
พระคง ทรงนิยม จ.ลําพูน สภาพสวยครบสูตร ดูง่ายๆ สภาพเดิมสุด
พระสมเด็จเก่าไม่รู้ที่มา. เหรียญพ่อท่านซังรุ่นแรก. พระกรุเชียงแสน. หลวงพ่อเพชร. พระคง ลําพูน
ชาย. 3 พระไตร. สวยเก่าตามภาพ. พระคง
#พระคงกรุเก่า จังหวัดลําพูน #พร้อมบัตรรับรองพระแท้จากทางสมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย #เลี่ยมทองคําแท้พร้อมขึ้นคอบูชาได้เลย #พระคงความหมายก็คือองค์พระมีความล่ําสันและพระก็มีความหนามั่นคง #ชีวิตจักมีแต่ความมั่นคงตลอดไป หรือเรียกตามกรุที่พบ แต่ตามความหมายแล้ว คง หมายถึง #การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าภายใต้ซุ้มโพธิ์ที่พุทธคยา ดังนั้น จึงมีพุทธศิลปะที่งดงามสง่า จังหวัดลําพูน หรือที่ในสมัยก่อนเรียกกันว่า เมืองหริภุญไชย เป็นเมืองเก่าแก่ของไทย กล่าวตามตํานานพงศาวดารไว้ว่า.... เมืองหริภุญไชย ถูกสร้างโดยฤาษี 4 ตน มี ฤาษีวาสุเทพหรือพระสุเทวะฤาษี เป็นผู้นําในการสร้าง แล้วเสร็จในราวปี พ.ศ.1200 ต่อมาในปี พ.ศ.1205 พระนางจามเทวี พระธิดาของพระเจ้าจักรวรรดิราช กษัตริย์มอญที่ครองเมืองละโว้หรือลพบุรีในสมัยนั้น ได้รับการอัญเชิญมาเป็นกษัตริย์เมืองหริภุญไชย พระองค์ได้ทรงนําพระพุทธศาสนา พระไตรปิฎก รวมทั้งวิทยาการต่างๆ มายังเมืองหริภุญไชย ทรงสร้างวัดและถาวรวัตถุทางพุทธศาสนาเป็นอันมาก ที่สําคัญที่สุดคือ ปี พ.ศ.1223 พระนางจามเทวีทรงสร้างจตุรพุทธปราการ โดยสร้างวัดไว้ทั้ง 4 ทิศ ชาวเมืองเรียกกันว่า วัดสี่มุมเมือง ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นการคุ้มครองเมืองไว้ทั้ง 4 ทิศ คือ 1.วัดพระคงฤาษี อยู่ทางด้านเหนือ 2.วัดประตูลี้ อยู่ด้านทิศใต้ 3.วัดดอนแก้ว อยู่ด้านทิศตะวันออก 4.วัดมหาวัน อยู่ด้านทิศตะวันตก นอกจากนี้ ที่ พระเจดีย์ฤาษี วัดพระคงฤาษี ยังปรากฏรูปพระฤาษีทั้งสี่ประทับยืนในซุ้มคูหา พร้อมมีคําจารึกใต้ฐานว่า สุเทวะฤาษี ผู้รักษาเมืองฝ่ายทิศเหนือ สุกกทันตฤาษี ผู้รักษาเมืองฝ่ายทิศใต้ สุพรหมฤาษี ผู้รักษาเมืองฝ่ายทิศตะวันออก สุมมนารทะฤาษี ผู้รักษาเมืองฝ่ายทิศตะวันตก วัดสี่มุมเมืองนี้ นับเป็นพุทธาวาสสําคัญของจังหวัดลําพูน และเป็นแหล่งกําเนิดพระกรุสกุลลําพูนอันมีชื่อเสียงที่สุดในจังหวัดด้วย อาทิ พระรอด หนึ่งในพระชุดเบญจภาคี พระคง พระฤา พระเปิม และพระบาง ฯลฯ ซึ่งจะมีรูปแบบของศิลปะทวารวดีและศิลปะศรีวิชัย พระกรุเหล่านี้จึงน่าจะมีอายุอยู่ในราว 1,300 ปี มากล่าวถึงวัด พระคงฤาษี หรือ วัด อนันทราม ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ทางทิศเหนือ มีสุเทวะฤาษี เป็นผู้รักษาเมือง พระสกุลลําพูนที่พบ ณ กรุแห่งนี้ก็คือ พระคงหรือพระลําพูน หนึ่งในพระชื่อดังของลําพูน ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นพระสมัยเดียวกันกับพระรอดและสร้างโดยสุเทวะฤาษีเช่น เดียวกัน ตามความหมายแล้ว คง หมายถึง การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าภายใต้ซุ้มโพธิ์ที่พุทธคยา ดังนั้น จึงมีพุทธศิลปะที่งดงามสง่า องค์พระประธานประทับนั่งขัดสมาธิเพชร แสดงปางมารวิชัย ภายในซุ้มใบโพธิ์ เหนืออาสนะฐานบัวเม็ด เป็นจุดไข่ปลาเรียงอยู่ด้านหน้าโดยรอบ 2 ชั้น - พื้นผนังโพธิ์ด้านหลังมีความประณีตและอ่อนพลิ้วงดงามมาก - เส้นประภามณฑลเป็นเส้นซุ้มครอบลงมาตลอดด้านข้าง - พระพักตร์ป้อมเอิบอิ่ม - พระอุระอวบอ้วนล่ําสัน พระคง เป็นพระเนื้อดินเผา ขนาดเล็กกะทัดรัด กว้างประมาณ 1.7 ซ.ม. สูงประมาณ 2.8 ซ.ม. มีทั้งสีขาว สีเหลืองพิกุล สีเขียว สีแดง และสีดํา แต่เป็นที่นิยมที่สุดจะเป็น พระคงสีเขียว พบมากที่วัดคงฤาษี และมีกระจายอยู่ตามวัดต่างๆ ในลําพูนรวมทั้งเชียงใหม่ สันนิษฐานว่าน่าจะมีการนําพระคงมาบรรจุกรุทีหลังหลังจากมีการแตกกรุจากวัดคง ฤาษี และเนื่องด้วยพระคงมีการแตกกรุมาหลายครั้ง จึงมีการแบ่งแยกออกเป็น กรุเก่าและกรุใหม่ พระคงกรุเก่า ให้สังเกตเนื้อขององค์พระ จะมีเนื้อละเอียดหนึกนุ่ม แต่มีความแกร่ง และปรากฏว่านดอกมะขามเป็นจุดสีแดงเล็กๆ ประปรายตามผิวขององค์พระ ส่วน พระคงกรุใหม่ เนื้อขององค์พระจะค่อนข้างยุ่ยและหยาบ โดยเฉพาะว่านดอกมะขามแล
พระคง พระสกุลลําพูน
พระคงลําพูน เนื้อมันปู สวยๆ NoBrand